ชื่อ-สกุล | |
ที่อยู่ | |
เฟซบุ๊ค |
ประวัติการศึกษา
พ.ศ.ที่จบ | ระดับการศึกษา | คณะ | สาขา | สถาบันการศึกษา | |
---|---|---|---|---|---|
พ.ศ. 2539 | ปริญาตรี | ศึกษาศาสตร์ | สังคมศึกษา | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | |
พ.ศ. 2545 | ปริญญาโท | สังคมศาสตร์ | การพัฒนาสังคม | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
ประวัติการทำงาน
ปีที่เริ่ม | ตำแหน่ง | หน่วยงาน/บริษัท | ภาคส่วน | |
---|---|---|---|---|
พ.ศ. 2545 | ผู้ช่วยนักวิจัย | สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | รัฐ | |
พ.ศ. 2546 | อาจารย์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย | รัฐ | |
พ.ศ. 2547 | ผู้ช่วยนักวิจัย | มหาวิทยาลัยโฮเฮนฮาม สหพันธรัฐเยอรมัน | รัฐ | |
พ.ศ. 2549 | นักวิชาการอิสระ | --- | ประชาสังคม | |
พ.ศ. 2552 | ผู้พิพากษาสมทบ | ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดแม่ฮ่องสอน | รัฐ | |
พ.ศ. 2552 | อาจารย์ | ชมรมศิลปะป้องกันตัวไอคิโด จังหวัดแม่ฮ่องสอน | เอกชน | |
พ.ศ. 2552 | ประธาน | สโมสรผู้นำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน (องค์กรสาธารณะประโยชน์) | ประชาสังคม | |
พ.ศ. 2553 | ผู้ติดตามประเมินผลภายใน | เครือข่ายสื่อเพื่อเด็กและเยาวชนภาคเหนือ | ประชาสังคม | |
พ.ศ. 2560 | เลขานุการ | สภาวัฒนธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอน | รัฐ | |
พ.ศ. 2560 | ผู้ประสานงาน | โครงการฟื้นฟูสมรรถนะคนพิการแบบมีส่วนร่วมโดยชุมชน | ประชาสังคม | |
พ.ศ. 2560 | ผู้ประสานงาน | โครงการพัฒนากลไกการเข้าถึงบริการสุขภาพและเสริมสร้างสุขภาวะผู้หญิงชาติพันธุ์ | ประชาสังคม |
ความชำนาญ
สาขา | |
---|---|
มานุษยวิทยาวัฒนธรรม | |
วิทยากรกระบวนการ | |
การวิจัยและพัฒนาสตรีและบทบาททางเพศสภาพ | |
การวิจัยและพัฒนาชาติพันธุ์ | |
การวิจัยและพัฒนาเด็ก เยาวชน | |
การสร้างวินัยเชิงบวก | |
การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี | |
ศิลปะป้องกันตัว (ไอคิโด) | |
การส่งเสริมการอ่าน | |
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ |
ประสบการณ์งานติดตามประเมินผล
ปี พ.ศ. | ชื่อโครงการ | แหล่งทุน | |
---|---|---|---|
พ.ศ. 2553 | โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อเพื่อเด็กและเยาวชนภาคเหนือ | สสส. |
บุคคลหรือหน่วยงานอ้างอิง
ชื่อบุคคล | หน่วยงาน | |
---|---|---|
ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์ | คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | |
ดร.วิชุลดา มาตันบุญ | สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | |
นายประเสริฐ ประดิษฐ์ | สภาวัฒนธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอน |